Connect to DB
  หัวข้อ ประชามติรัฐธรรมนูญ ปี 50 ในสายตาประชาชน
  ระเบียบวิธีการสำรวจ:
   

         การสำรวจความคิดเห็นเรื่อง “ประชามติรัฐธรรมนูญ ปี 50 ในสายตาประชาชน” ใช้การสุ่ม
ตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน (Multi-Stage Sampling) โดยการสุ่มเขตการปกครองจำนวน 22 เขต
จาก 50 เขตของกรุงเทพมหานคร ทั้งเขตชั้นใน เขตชั้นกลาง และเขตชั้นนอก ได้แก่ เขตคลองเตย
คลองสามวา ดอนเมือง ดินแดง บางขุนเทียน บางเขน บางซื่อ บางนา บางรัก บึงกุ่ม ปทุมวัน ประเวศ
พญาไท พระโขนง พระนคร ราชเทวี ราษฎร์บูรณะ ลาดพร้าว สวนหลวง สาทร  หนองแขม หลักสี่
ปริมณฑล 3 จังหวัดและจังหวัดที่เป็นหัวเมืองใหญ่ในแต่ละภาค ได้แก่ ขอนแก่น เชียงใหม่ สงขลา
และชลบุรี จากนั้นสุ่มถนนและประชากรเป้าหมายอายุ 18 ปีขึ้นไป ได้กลุ่มตัวอย่างทั้งสิ้น 1,095 คน 
เป็นเพศชายร้อยละ 52.2   และเพศหญิงร้อยละ 47.8

   
  ระยะเวลาในการเก็บข้อมูล: 25 - 30 กรกฏาคม 2550
  วันที่เผยแพร่ผลการสำรวจ: 5 สิงหาคม 2550
  สรุปผลการสำรวจ:
   
กราฟแสดงการประมวลผลข้อมูล
   
                          กราฟที่ 1: เมื่อถามกลุ่มตัวอย่างว่าได้อ่านร่างรัฐธรรมนูญ ปี 2550 ฉบับลงประชามติ
(ปกสีเหลือง) หรือยัง พบว่า
   

   
                          กราฟที่ 2: .ในจำนวนผู้ที่ได้อ่านร่างรัฐธรรมนูญ ปี 2550 ฉบับลงประชามติ
(ปกสีเหลือง) ระบุว่า
   

   
                          กราฟที่ 3:ประเด็นที่ เห็นด้วย มากที่สุดในร่างรัฐธรรมนูญ ปี 2550 คือ (เป็นคำถามปลายเปิดให้ระบุคำตอบเอง)
   

   
                          กราฟที่ 4: ประเด็นที่ ไม่เห็นด้วย มากที่สุดในร่างรัฐธรรมนูญ ปี 2550 คือ
(เป็นคำถามปลายเปิดให้ระบุคำตอบเอง)
   

   
                          กราฟที่ 5: เมื่อถามความเห็นกลุ่มตัวอย่างถึงการได้รับทราบข้อมูลข่าวสาร หรือ
การประชาสัมพันธ์ เกี่ยวกับการลงประชามติว่าเพียงพอหรือไม่ พบว่า
   

   
                          กราฟที่ 6: เมื่อถามกลุ่มตัวอย่างว่าจะไปใช้สิทธิลงประชามติร่างรัฐธรรมนูญ ปี 2550
ในวันที่ 19 สิงหาคม 2550 นี้หรือไม่ ผลปรากฏว่า
   

   
                          กราฟที่ 7: ความเห็นของกลุ่มตัวอย่างในภาพรวม สำหรับการออกเสียงลงประชามติ
ว่าจะ “เห็นชอบ” ร่างรัฐธรรมนูญปี 2550 หรือไม่ พบว่า
   

   
                          กราฟที่ 8: เมื่อถามความเห็นจากกลุ่มตัวอย่างว่าร่างรัฐธรรมนูญ ปี 2550 
จะผ่านการลงประชามติหรือไม่ พบว่า
   

   
                          กราฟที่ 9: ท่านคิดว่าควรมีผู้รับผิดชอบหรือไม่หากร่างรัฐธรรมนูญ ไม่ผ่าน
การลงประชามติ
   

   
                          กราฟที่ 10: โดยกลุ่มที่ตอบว่า ควรต้องมีผู้รับผิดชอบ หากร่างรัฐธรรมนูญ ปี 2550
ไม่ผ่านการลงประชามติ ได้ระบุผู้ที่ควรเป็นผู้รับผิดชอบ คือ
   

   
                          กราฟที่ 11: ความเห็นต่อการที่ร่างรัฐธรรมนูญไม่ผ่านการลงประชามติ ควรหาทางออก
ของปัญหาอย่างไร
   

   
                          กราฟที่ 12: เมื่อถามความเห็นถึงสถานการณ์บ้านเมืองหลังการลงประชามติ
ร่างรัฐธรรมนูญแล้ว คิดว่าจะเปลี่ยนแปลงไปอย่างไร พบว่า
   

   
     
    สามารถทำการ Vote ได้วันละ 1 ครั้ง
    Vote:  ดีมาก(5) ดี (4) ปานกลาง(3) พอใช้ (2) แย่ (1)  
    Download document file:   ( ประชามติรัฐธรรมนูญ ปี 50 ในสายตาประชาชน )
   
   

ศูนย์วิจัยกรุงเทพโพลล์ ( Email: research@bu.ac.th )

   

โทร. 0-2350-3500 ต่อ 1776